ถ้าหากจะย้อนไปถึงทฤษฎี Elliott Wave ต้องขอบคุณคนที่ค้นพบทฤษฎีนี้ นั้นก็คือ Ralph Nelson เค้าได้เฝ้ามองราคาในตลาดในช่วงเวลาปี 1946 แล้วค้นพบว่า ในตลาดมีรูปแบบที่คล้ายๆกัันเป็นสัดส่วนต่อกันล่ะกัน ถ้าหากจะมองให้เห็นภาพ ขอยกตัวอย่างของคนนะครับ เช่น ถ้าเรากางแขวนทั้งสองข้ามออกจะมีความยาวเท่ากับความสูงของเรา หรือ ความยาวระหว่างข้อมือถึงข้อพับแขนนั้นเท่ากับความยาวของเท้าข้างใดข้างหนึ่งของคุณเอง ซึ่งสัดส่วนพวกนี้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ถ้าหากมาพูดถึงเรื่องราคาในตลาด ราคาในตลาดถือว่าเกิดมาจากมนุษย์ พฤติกรรมของมนุษย์ถือว่าเป็นเรื่องตามธรรมชาติ ดังนั้นการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์จึงเป็นเรื่องธรรมชาติ จริงๆต้องเรียกว่ากิจกรรมของมนุษย์เป็นเรื่องธรรมชาติ (อ้างอิงมาจากหนังสือของ The Nature Law's เขียนโดย Ralph Nelson ผู้ค้นพบทฤษฎีนี้)
การนับคลื่น ไม่ใช้เป็นการรู้อนาคต แต่ว่าเป็นการบอกถึงสัดส่วนที่จะเกิดขึ้น
ถ้าหากจะย้อนไปถึงทฤษฎี Elliott Wave ต้องขอบคุณคนที่ค้นพบทฤษฎีนี้ นั้นก็คือ Ralph Nelson เค้าได้เฝ้ามองราคาในตลาดในช่วงเวลาปี 1946 แล้วค้นพบว่า ในตลาดมีรูปแบบที่คล้ายๆกัันเป็นสัดส่วนต่อกันล่ะกัน ถ้าหากจะมองให้เห็นภาพ ขอยกตัวอย่างของคนนะครับ เช่น ถ้าเรากางแขวนทั้งสองข้ามออกจะมีความยาวเท่ากับความสูงของเรา หรือ ความยาวระหว่างข้อมือถึงข้อพับแขนนั้นเท่ากับความยาวของเท้าข้างใดข้างหนึ่งของคุณเอง ซึ่งสัดส่วนพวกนี้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ถ้าหากมาพูดถึงเรื่องราคาในตลาด ราคาในตลาดถือว่าเกิดมาจากมนุษย์ พฤติกรรมของมนุษย์ถือว่าเป็นเรื่องตามธรรมชาติ ดังนั้นการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์จึงเป็นเรื่องธรรมชาติ จริงๆต้องเรียกว่ากิจกรรมของมนุษย์เป็นเรื่องธรรมชาติ (อ้างอิงมาจากหนังสือของ The Nature Law's เขียนโดย Ralph Nelson ผู้ค้นพบทฤษฎีนี้)
ดังนั้นเรื่องที่เกิดตามธรรมชาติจะมีเงื่อนไขตามธรรมชาติรองรับไว้หมด ขึ้นอยู่กับว่าเราจะหาและเข้าใจเงื่อนไขนี้ไหม กลับมาที่การซื้อขายในตลาด ราคาในตลาดจะเรียกว่าเป็นคลื่น ถ้าหากจะกล่าวได้อย่างง่าย ราคาในตลาดไม่สามารถจะเป็นแนวโน้มขาขึ้นได้ตลอดเวลา จะมีบางช่วงนักลงทุนขายทำกำไร ซึ่งจะทำให้ปรับตัวลงมา และเมื่อปรับตัวลงมาถึงระดับหนึ่งจะมีการซื้อคืน เพราะว่าราคาได้ลงมาต่ำมากแล้ว
การที่ราคามีการปรับตัวขึ้นหรือว่าลง ตามทฤษฎีจะเรียกว่าคลื่น ซึ่งในคลื่นนี้เองจะมีสัดส่วนต่อกัน เช่น กรณีที่มีคนซื้อเยอะมาก จากราคา 0-10 บาท เป็นแนวโน้มขาขึ้น จะแทนด้วยคลื่น a และเมื่อมีการขาย ราคาจาก 10 บาทจะลงมาเหลือแค่ 5 บาท ช่วงจาก 10 บาทเหลือ 5 บาท จะเรียกว่าคลื่น b และเมื่อนักลงทุนมองว่าราคานี้ต่ำไปมากแล้ว จะซื้อคืน ราคาที่ซื้อคืนแล้วกลับขึ้นไป เป็น 12 บาท จะเรียกว่าคลื่น c
ดังนั้นในทฤษฎีนี้จะสามารถบอกได้ว่าความสัมพันธ์ระหว่างคลื่น a และ b เป็นอย่างไร และจะสามารถบอกเป้าหมายของคลื่น c ได้
คลื่นแต่ล่ะคลื่นจะมีสัดส่วนต่อกันเสมอ หมายถึง ทุกครั้งที่ราคาเปลี่ยนแนวโน้มจาก ขาขึ้นเป็นขา